ชั่วยามที่ | ช่วงเวลา | นักษัตร | ราศีล่าง | ธาตุ | อิม|เอี๊ยง | |
1 | 23.00 - 00.59 | ชวด | ![]() |
子 | น้ำเล็ก | อิม |
2 | 01.00 - 02.59 | ฉลู | ![]() |
丑 | ดินเล็ก | อิม |
3 | 03.00 - 04.59 | ขาล | ![]() |
寅 | ไม้ใหญ่ | เอี๊ยง |
4 | 05.00 - 06.59 | เถาะ | ![]() |
卯 | ไม้เล็ก | อิม |
5 | 07.00 - 08.59 | มะโรง | ![]() |
辰 | ดินใหญ่ | เอี๊ยง |
6 | 09.00 - 10.59 | มะเส็ง | ![]() |
巳 | ไฟใหญ่ | เอี๊ยง |
7 | 11.00 - 12.59 | มะเมีย | ![]() |
午 | ไฟเล็ก | อิม |
8 | 13.00 - 14.59 | มะแม | ![]() |
未 | ดินเล็ก | อิม |
9 | 15.00 - 16.59 | วอก | ![]() |
申 | ทองใหญ่ | เอี๊ยง |
10 | 17.00 - 18.59 | ระกา | ![]() |
酉 | ทองเล็ก | อิม |
11 | 19.00 - 20.59 | จอ | ![]() |
戌 | ดินใหญ่ | เอี๊ยง |
12 | 21.00 - 22.59 | กุน | ![]() |
亥 | น้ำใหญ่ | เอี๊ยง |
จากตัวอย่างการดูเวลาจากปฏิทินรายวัน ท่านคงทราบแล้วว่า คุณ ก เกิดเวลา 12.00 น. ก็คือ อยู่ช่วงเวลา 11.00 – 12.59 เป็น เวลา 甲午 นั่นเอง
ก่อนจบเรื่องแท่งเวลา หากท่านไปลองเปิดปฏิทินรายวันดู จะพบว่า พอครบรอบ 60 กะจื้อ หรือ ครบ 60 ชั่วยาม หรือ ครบ 5 วัน ตารางเวลาก็จะเริ่มวนกลับมาซ้ำที่เดิม เช่นเดียวกับแท่งวันซึ่งจะเริ่มวนกลับมาซ้ำกันทุก 60 วัน โดยข้อสังเกตดังกล่าวจะไปสู่ตารางสรุปเวลาเกิดเพียงท่านทราบดิถี (ก็คือ ราศีบนของแท่งวัน นั่นเอง)